อ่าน “ส.ค.ส.2011 มอบแด่เพื่อนและสมาชิกที่อ่าน gotoknow ทุกท่าน” ได้จากบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ… 2562 อดิศรโพสต์อย่าไปจูบกันให้นร.เห็น หลังทยายินดีณัฏฐพลนั่งศธ. ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2553 เรื่องแก้ไขข้อคลาดเคลื่อน… ‘ยุทธพงศ์’เตรียมยื่นป.ป.ช.สอบ’ณัฏฐพล’ตั้งคนสนิทนั่งเลขาฯสกสค.
แสดงว่าของคุณเป็นส่วนท้องถิ่นใช่ไหมค่ะ…ถ้าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนท้องถิ่น ต้องใช้กฎหมายของท้องถิ่นค่ะ…ไม่สามารถใช้กับลูกจ้างประจำของส่วนราชการได้ค่ะ…ขึ้นอยู่กับส่วนราชการของคุณนะค่ะ… ถ้าคุณศึกษาตามที่ผู้เขียนแจ้งไว้ตามข้างต้น ก็สามารถทำได้ค่ะ…แต่ขณะนี้ต้องรอหนังสืออนุมัติกรอบอัตราจาก สำนักงาน ก.พ. เห็นชอบให้เข้าสู่ตำแหน่งใหม่ก่อนนะค่ะ… การเลื่อนขั้นค่าจ้างของลูกจ้างประจำ ถ้าใช้ระเบียบเดิมที่ไม่มี % เช่น ข้าราชการแล้วละก็ ก็ยังคิดเกณฑ์โควต้า 15 % มากำหนดในการคิด 2 ขั้นอยู่ค่ะ… เรียนสอบถามว่าเงินเดือน เม.ย.54 นี้ ลูกจ้างประจำได้รับ 5% และ thirteen % เหมือนข้าราชการหรือไม่ เพราะที่อ่านเจอไม่เห็นมีพูดถึงลูกจ้างประจำเลย มีแต่ครูเท่านั้น….. ลองปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการ + จนท.ที่รับผิดชอบดูนะค่ะ…เพราะสมัยก่อน ทางส่วนกลาง หรือ กรม จะเป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือกให้กับคุณไงค่ะ…
กำหนดให้ทำค่ะ…ลองดูนะค่ะ…อย่าลืมถามเจ้าหน้าที่เรื่องเงินเดือนใหม่ด้วยค่ะ เพราะจะพันมาถึงการเลื่อนขั้นค่าจ้างในวันที่ 1 ตุลาคม 2553 นี้นะค่ะ… ปัจจุบันเงินค่าจ้างจะอยู่ที่ ระดับ 2 เมื่อเงินเดือนเต็มแล้วไม่สามารถไหลไปที่ระดับ 3 ได้หรอกค่ะ เพราะปัจจุบันคุณอยู่ที่กลุ่มค่าจ้างกลุ่มที่ 1-2 เมื่อเงินเดือนเต็มแล้ว อยู่ที่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้ดูให้คุณ อาจจะดำเนินการสอบเพื่อเลื่อนระดับให้กับคุณก็ได้ ข้อสอบที่ใช้สอบอาจเป็นลักษณะของ กฎหมาย ระเบียบที่คุณปฏิบัติเกี่ยวกับการเงินก็ได้ไงค่ะ… สำหรับข้อที่ว่า “เป็นผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานในระดับชั้นที่มีความสัมพันธ์กับหน้าที่ความรับผิดชอบ” นั้น…หมายถึง เราเคยได้รับการผ่านการทดสอบมาตรฐานจากกรมฝีมือแรงงานไงค่ะ…ที่กรมฝีมือแรงงาน เขาจะมีการทดสอบเกี่ยวกับ เช่น ช่างไม้ ช่างปูน ช่างยนต์ เขาจะมีใบรับรองว่าเราได้ผ่านการทดสอบมาตรฐานการทำงาน เช่น ช่างไม้ เมื่อเทียบกับตำแหน่งช่างไม้ของการทำงาน จะอยู่ในระดับชั้นใด ระบุไว้ค่ะ…เช่น การรับรองคนที่ไม่ได้จบการศึกษา ม.6 ปวช. หรือปริญญาตรี…เรียกว่าไม่ได้เรียนในระบบ… แต่เขามีความชำนาญในการทำงานด้านช่างไม้ ช่างปูน คนกลุ่มนี้ ก็ไปให้กรมฝีมือแรงงานรับรองการมีความชำนาญการของเขา…เพื่อรับรองคนกลุ่มนี้ไปทำงานด้านการก่อสร้างในต่างประเทศไงค่ะ…กรมฝีมือแรงงาน เป็นสถาบันอีกสถาบันหนึ่งที่รับรองความสามารถ ความชำนาญการ ของคนที่ไม่ได้เรียนในระบบ (เรียนโรงเรียนประถม มัธยม มหาวิทยาลัยค่ะ…)…เป็นการให้โอกาสผู้ที่ไม่สามารถเรียนในระบบได้ค่ะ… ก็ได้ค่ะ เกี่ยวกับการเป็นหัวหน้างาน เพราะในส่วนราชการของคุณที่พนักงานธุรการ เพียง 1 คน ผู้เขียนก็ไม่แน่ใจว่าจะได้หรือไม่ เพราะจากที่ศึกษาในหน้าที่นั้น เหมือนกับว่า ตำแหน่งดังกล่าวต้องเป็นตำแหน่งที่ให้หัวหน้ามีลูกน้องในหน่วยงานด้วยค่ะ ยกตัวอย่างเช่น ในส่วนราชการนั้นมีเจ้าหน้าที่ธุรการ หลายคน จึงจำเป็นต้องมีหัวหน้างาน (พนักงานธุรการ) เพื่อที่จะได้ประสานงานภายในงานธุรการได้ไงค่ะ…ลองสอบถามที่ ก.พ.
กระบวนการดำเนินการ อาจมีการสอบ ขึ้นอยู่กับส่วนราชการค่ะ… อ่าน เรื่อง “ระเบียบและกฎหมายที่ลูกจ้างประจำควรทราบ” ได้จากบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ… เพราะการเปลี่ยนตำแหน่งต้องมีการ อาจสอบคัดเลือก ซึ่งต้องเป็นเรื่องใหญ่ที่ จนท.ต้องทำไงค่ะ เลยต้องให้คำสั่งเข้าแท่งให้เรียบร้อยก่อนค่ะ…
เป็นกำลังใจให้ก็แล้วกันนะคะ…(เป็นไปได้ให้ลองปรึกษา ผอ.เขต สิค่ะ)… อย่าลืมเข้าไปดูในค่ำคืนนี้นะค่ะ…แล้วจะตกตะลึงในความมหัศจรรย์ค่ะ… ‘ชูวิทย์’ แฉเหตุ ‘นอท สลากพลัส’ ซวย ถูกดีเอสไอบุก ยกสุภาษิต ‘อยู่ให้เป…
การที่จะมีสิทธิได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้เป็นไปตามระเบียบที่ลูกจ้างประจำมีสิทธิได้รับเครื่องราช ฯ ศึกษาในระเบียบดูนะคะ…คลิกที่สารบัญ(บน) ด้านขวามือ ของคุณ จะปรากฎ บล็อกที่ผู้เขียนได้นำมาลงให้หลายเรื่องค่ะ… การที่จะเปลี่ยนตำแหน่งนั้น ขึ้นอยู่กับงานที่คุณได้ปฏิบัติ เช่น ถ้าเปลี่ยนเป็นพนักงานพิมพ์นั้น คุณก็ต้องพิมพ์คอมพิวเตอร์ได้ อีกอย่างก็ต้องไปดูที่คุณสมบัติของพนักงานพิมพ์ในแต่ละระดับว่าจะเปลี่ยนได้หรือไม่ค่ะ…เพราะเมื่อเปลี่ยนตำแหน่งไปแล้วจะมีผลตอนการประเมินผลการปฏิบัติงานไงค่ะ ถ้าพิมพ์ไม่ได้ก็ไม่ควรเปลี่ยน แต่ถ้าพิมพ์ได้ก็จะเป็นไปตามคุณสมบัติของตำแหน่งค่ะ… ลองคลิกดูนะค่ะ ในบล็อกนี้นะค่ะ…เรื่อง บัญชีกำหนดคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งและอัตราค่าจ้างของลูกจ้างประจำ นี่แหล่ะค่ะ…
พรุ่งนี้กินไรดี เอาใจสายคาเฟ่ผู้รักของหวานที่..
2553 นี้…ก็ได้รับเงินค่าจ้างในอัตราใหม่ด้วยค่ะ…แต่อาจช้านิดหนึ่งนะค่ะ…ตามที่แจ้งตามข้างต้นค่ะ… ของกรมอาชีวศึกษา ใช้ระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ที่พี่ว่านี้นะค่ะ…ถ้าใช้ระเบียบฉบับเดียวกัน ทำไมถึงไปเปลี่ยนตำแหน่งของลูกจ้างประจำตำแหน่งเดิมเขาละค่ะ…ตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชี ที่ ก.พ. กำหนดก็มีนี่ค่ะ…แสดงว่าอยู่ที่ต้นสังกัดดำเนินการให้กับลูกจ้างประจำแล้วนะค่ะ…ลองสอบถามเจ้าหน้าที่ คือ งานการเจ้าหน้าที่ดูนะค่ะ ว่าเปลี่ยนเพราะเหตุใด แล้วตำแหน่งใหม่ที่เปลี่ยนคือ ตำแหน่งใด เพราะไม่ได้แจ้งให้พี่ทราบ จึงไม่ทราบว่าคุณตำแหน่งใดในปัจจุบัน…ตำแหน่งใหม่ที่เปลี่ยน ก็ต้องมีในตำแหน่งที่สำนักงาน ก.พ. ระบุ เป็นมาตรฐานกำหนดตำแหน่งด้วยนะค่ะ ถ้าไม่อย่างนั้นแล้ว จะมีปัญหาในภายหน้าค่ะ…สำหรับการเปลี่ยนตำแหน่งใหม่อีก ต้องดูด้วยนะค่ะ ว่าเราสามารถที่จะก้าวหน้าไปได้อีกหรือไม่…และปัจจุบันทำอยู่หรือไม่ ถ้าตำแหน่งเดิมดีอยู่แล้วก็ไม่ควรเปลี่ยนนะค่ะ…
ที่พูดมาทั้งหมด จะเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการนะค่ะ…ถ้าเป็นท้องถิ่น ไม่ใช่ค่ะ… แจ้งเวียนหนังสือให้ทราบเรื่องกรอบอัตรากำลัง ภายในเดือนพฤษภาคม 2553 นี้ค่ะ… ลองศึกษาไฟล์ด้านล่างนี้ดูนะคะ และค่อย ๆ ศึกษาค่ะ จากบล็อกด้านบนเป็นเรื่องใหม่สุดค่ะ… ให้ศึกษาเรื่องการปรับเข้าสู่ตำแหน่ง ซึ่ง ก.พ.
ไม่ว่าลูกจ้างประจำหรอกค่ะ ข้าราชการก็มีเยอะไป ที่เป็นเช่นคุณ ไม่ใช่คุณคนเดียวหรอก…แต่บอกแล้วไง ขึ้นอยู่กับหัวหน้าส่วนราชการ ถ้าเขามีจิตสำนึกที่ดี ไม่ลำเอียงจนเกินไป รักลูกน้องเท่ากันทุก ๆ คน…คงไม่มีปัญหามาถึงปัจจุบันหรอกค่ะ… ซึ่งคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งในตำแหน่งช่างไม้ ระดับ three มีจำนวน 5 ข้อ ซึ่งแต่ละข้อใช้คำว่า หรือ คั่นในระหว่างข้อ ก็แสดงว่าถ้าเรามีคุณสมบัติเข้าเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ก็สามารถเปลี่ยนตำแหน่งได้ค่ะ…แต่อย่าลืม ต้องมีคำสั่งที่เราได้ปฏิบัติเกี่ยวกับตำแหน่งของช่างไม้ นะค่ะ… สำหรับเงิน eight % น่าจะเป็นส่วนของข้าราชการครู ของ สพฐ.มากกว่ากระมังค่ะ เพราะข้าราชการพลเรือนสามัญ, ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ก็ได้เพียง 5 % เท่านั้นค่ะ เช่นเดียวกับลูกจ้างประจำ ไม่สามารถได้อีก eight % แล้วค่ะ…เพราะตามมติ ครม. การเปลี่ยนตำแหน่งนั้น ไม่ใช่เป็นความต้องการของตัวเราเอง แต่มาจากการที่ตัวคุณเองได้มีการพัฒนาการทำงานในทางที่ดีขึ้น สามารถทำงานได้กว้างขึ้น ไม่ใช่ทำงานแบบเดิม ๆ แล้วก็ขอปรับเปลี่ยน คงไม่ใช่ แต่ถ้าคุณมีการพัฒนาตัวคุณเอง มีความรู้ ความสามารถในตำแหน่งที่จะปรับเปลี่ยน (เรียกว่า มีเส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพ) ส่วนราชการก็สามารถกระทำให้ได้ค่ะ…
ท่านสามารถศึกษารายละเอียด เรื่อง “การแต่งตั้งลูกจ้างประจำไปดำรงตำแหน่งใหม่” ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0428/ว eighty three ลงวันที่ 17 สิงหาคม 2553 ตามบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ… เป็นเพราะรัฐปรับปรุงเปลี่ยนแปลงความก้าวหน้า มั่นคงและเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบันค่ะ…แต่ลูกจ้างประจำก็ต้องมีการพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้นด้วยนะค่ะ…เพื่ออนาคตและความมั่นคงในอาชีพของท่านด้วยค่ะ… ไม่ทราบว่า คุณเป็นลูกจ้างประจำที่ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 หรือไม่ค่ะ ถ้าใช่ ตำแหน่งคุณ คือ ช่างโลหะแผ่น ชั้น 2 ซึ่ง ไม่มีในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของลูกจ้างประจำนะค่ะ มีแต่ ตำแหน่งช่างโลหะ…
อีกอย่างอาจทำบันทึกข้อความในการขอปรับเปลี่ยนตำแหน่ง ว่าขอปรับเปลี่ยนเพราะเหตุใด การที่เป็นพนักงานบริการจะขอปรับเป็นพนักงานธุรการ ต้องมีคำสั่งว่าได้สั่งให้เราปฏิบัติงานในตำแหน่งพนักงานธุรการด้วยนะค่ะ…ถ้ามีงานที่เกี่ยวกับตำแหน่งพนักงานธุรการ เช่น การทำงานธุรการ งานสารบรรณ รับ – ส่งหนังสือ จัดเก็บเอกสารของทางราชการ ก็สามารถขอปรับเปลี่ยนได้ แต่ต้องมีคุณสมบัติตรงตามระดับตำแหน่งแต่ละระดับด้วยนะค่ะ…(ยึดคำสั่งมอบหมายงานเป็นหลักด้วยค่ะ)…แนบไปพร้อมกับบันทึกข้อความในการขอปรับเปลี่ยนค่ะ… ขณะที่ นายอำนาจ วิชยานุวัติ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะรักษาราชการเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กล่าวด้วยว่า เรื่องนี้ภายในวันที่ 20 ตุลาคมนี้ สพฐ.จะจัดสรรงบประมาณลงไปให้โรงเรียนเพื่อให้มีการจ้างต่อเนื่อง ดังนั้นสิ้นเดือนตุลาคมนี้โรงเรียนสามารถจ้างครูธุรการและนักการภารโรงตามอัตราเดิมได้ทันที ตนได้หารือกับสำนักงานพัฒนาบริหารงานบุคคล (สพร.) ของ สพฐ. ตอนนี้ยังเลยนะค่ะ…ต้องร้องเพลงรอก่อนค่ะ…การใช้สิทธิต่าง ๆ ต้องค่อยเป็นค่อยไปค่ะ…สืบเนื่องมาจากการร่างกฎหมาย…จะสังเกตเห็นได้จากการเอาใจ ดูแล ข้าราชการมากกว่ากระมังค่ะ…แต่ความเป็นจริงแล้ว เรื่องบุคคล ไม่ว่าประเภทไหน ก็ควรดูแลเหมือน ๆ กัน สิทธิได้ไม่เท่ากัน แต่ก็ควรดูแลบ้างค่ะ…เพราะไม่เช่นนั้น กฎหมายใหม่ เขาจะเรียกว่า “เลือกปฏิบัติ” ค่ะ…เป็นกำลังใจก็แล้วกันนะค่ะ…เพราะบางครั้ง เราไม่ได้เป็นผู้กำหนดระเบียบ + นโยบายค่ะ…จึงทำอะไรให้เป็นไปได้ดั่งใจเรา ค่อนข้างยากค่ะ… การเลื่อนขั้นเงินค่าจ้าง จากระดับ 3 เป็นระดับ four นั้น ขอให้คุณศึกษาหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0428/ว 38 ลงวันที่ 1 เม.ย.2553 เรื่อง การกำหนดคุณสมบัติ ฯ และอัตราค่าจ้างของลูกจ้างประจำ… ด้วยนะค่ะ เพราะจะกำหนดคุณสมบัติในการเข้าสู่ตำแหน่งไว้ค่ะ…
2.จะได้ปรับตำแหน่งเหมือนกับกระทรวงอื่นๆหรือเปล่าถ้าปรับแล้วจะอยู่ในกลุ่มใดครับ3. ทั่วโลกใช้งาน 5 จี เพิ่มวันละ 1 ล้านคน !! คนไทยไม่น้อยหน้าสิ้นปีนี้ทะลุ 5 ล้านคน โลกได้เดินหน้าเข้าสู่ยุค 5 จี อย่างเต็มตัวแล้ว เมื่อผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือ หรือ โอปอเรเตอร์ ทั่วโลก… “ครม.” ไฟเขียวเพิ่มเงินเดือน 9,000 และ 15,000 บาท “ภารโรง-ลูกจ้าง” สังกัดสพฐ.
แจ้งให้ฟังเกี่ยวกับกรณีของคุณเองค่ะ…เพราะตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชีค่าจ้างจะไปได้สูงกว่าพนักงานพิมพ์ค่ะ… ดูคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง + หน้าที่ของตำแหน่งพนักงานธุรการ ระดับ four ที่เราต้องปฏิบัติ + คำสั่งมอบหมายงานของเราที่ทำอยู่ ว่าตรงกับตำแหน่งพนักงานธุรการ ระดับ 4 หรือไม่ ถ้าตรงก็สามารถทำได้ค่ะ… ที่ทำงานของดิฉันก็เหมือนกัน พวกที่หาข้าว+หาขนมให้กิน มีเงินให้ยืม ได้ 2 ขั้นทุกคน ส่วนคนที่ทำงานตั้งแต่เช้าถึงเย็นไม่ได้ 2 ขั้น ทำให้เกิดการท้อแท้ใจในการทำงาน มองเห็นคะแนนประเมินออกมาแล้วหมดกำหนดลังใจ คนที่ไม่ทำงานเอาแต่รายงานเจ้านายนั้นได้ 2 ขั้น จนคนที่ทำงานนั้นไม่อยากทำงาน ตอนนี้ทำใจอย่างเดียว คิดเสียว่าทำงานเพื่อให้งานเราไปได้ดีก็พอใจแล้ว ไม่สนใจเกี่ยวกับขั้นอีกต่อไป……
ตอบแล้วค่ะ…เพราะปัจจุบัน ของมหาวิทยาลัยที่ทำงานอยู่ ทาง ก.พ. แจ้งว่า ให้รอก่อนค่ะ เพราะต้องเห็นใจ สำนักงาน ก.พ. ไม่ได้ทำให้เราหน่วยงานเดียว ทั้งประเทศนะค่ะ…หน่วยงานก็เยอะ ต้องอดใจรอค่ะ…
ขั้นวิ่งของค่าจ้าง เป็นภาษาพูดค่ะ…ความจริงแล้วเป็นขั้นของค่าจ้างในแต่ละขั้น เช่น zero.5 ขั้น, 1 ขั้น, 1.5 ขั้น และ 2 ขั้น (การได้ขั้นดังกล่าว ขึ้นอยู่การพิจารณาความดีความชอบ + ผลการปฏิบัติงานของบุคคลคนนั้นค่ะ) โดยในแต่ละกลุ่มงานจะมีขั้นของแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกันค่ะ…โดยแต่ละกลุ่มจะมี เขาเรียกว่า “ขั้นต่ำ – ขั้นสูง” (ขั้นสูง คือ เพดานสูงสุดของค่าจ้างในกลุ่มงานนั้นค่ะ)…คือ ค่าจ้างของคุณในกลุ่มงานนี้จะไม่สูงไปกว่านี้ค่ะ เรียกว่า เต็มขั้นค่ะ… คุณต้องศึกษาดูที่หน้าที่ของตำแหน่งผู้ดูแสสถานที่ด้วยนะค่ะว่ามีหน้าที่อย่างไร แล้วคุณปัจจุบันทำงานในลักษณะไหน ทำหรือไม่ ถ้าไม่แล้วหัวหน้าหน่วยงานสั่งให้ทำในตำแหน่งผู้ดูแลสถานที่ระดับ 2/หน. หรือไม่ ถ้าเป็นลักษณะงานเหมือนเดิมคงไม่ได้ค่ะ แต่ถ้าภาระงานใช่ตำแหน่งผู้ดูแลสถานที่ระดับ 2/หน. ก็สามารถทำได้ แต่ทั้งนี้ให้ศึกษาหนังสือสำนักงาน ก.พ. ด่วนที่สุด ที่ นร 1008/ว 14 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2553 ข้อ 6,7 ก่อนนะค่ะหรือจากไฟล์ด้านล่างนี้ค่ะ… แล้วพี่ก็ได้เขียนอีกหลายบล็อกค่ะ ซึ่งมีประโยชน์ต่อลูกจ้างประจำด้วย ของค้นหาดูในบล็อกด้านบน แล้วไปคลิกที่เกี่ยวกับลูกจ้างประจำ…
สำหรับช่วงเวลาของการเป็นลูกจ้างประจำ ก็จะได้สิทธิ ตามระเบียบของลูกจ้างประจำค่ะ…เป็นคนละส่วนกันค่ะ… นะค่ะ…เพราะเข้าเกณฑ์ในข้อ 4 ก็สามารถปรับได้ค่ะ แต่งานที่ทำอยู่ต้องเป็นงานธุรการนะค่ะ…ไม่ใช่เป็นพนักงานพิมพ์อย่างเดียว… AWAKE ดับฝันวันสิ้นโลก สัปดาห์นี้ ดูหนังกับหมี รีวิวภาพยนตร์เรื่องใหม่จาก Netflix ที่จะทำให้ทุกคนต้องหวนกลับมาดูการนอนหลับของตัวเอง ว่าเวลาที่นอนนั้นเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายแล้วหรือไม่ใน “… AWAKE ดับฝันวันสิ้นโลก…” ข้าราชการ(นักภารโรง)ที่เกษียณแล้ว สามารถขายบ้าน+ที่ตัวเองได้ไหมครับ(เป็นที่ของโรงเรียน) ข้าราชการ(นักการภารโรง)ที่เกษียณอายุราชการแล้ว เขาสามารถขายบ้าน+ที่ของตัวเองได้ไหมครับ(เป็นที่ของโรงเรียน) เรื่องราว… ข้าราชการ(นักการภารโรง)ท่านนี้ มาบรรจุอยู่ที่โรงเรียนแห่งนี้ เมื่อประมาณปีพ.ศ.
ถ้าปรับเปลี่ยน น่าจะเป็นตำแหน่งช่างครุภัณฑ์ นะคะ…เพราะทำเกี่ยวกับเรื่องโสตทัศนศึกษาได้ ให้คลิกดูที่ไฟล์ด้านบน กลุ่มงานช่างค่ะ สำหรับเงินค่าจ้างนั้น ก็อยู่ในไฟล์นั้นอยู่แล้วค่ะ ศึกษาให้ละเอียดนะค่ะ แล้วจะทราบว่าควรเปลี่ยนหรือไม่… การที่เราจะขอเปลี่ยนตำแหน่งคงจะไม่ได้ ต้องปรึกษาที่ ผอ.และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในเรื่องนี้ก่อนค่ะว่าจะดำเนินการให้หรือไม่ เพราะเป็นอำนาจของส่วนราชการค่ะ…ถ้าทำให้หรือตกลงกันได้ก็สามารถทำได้ค่ะ…ความจริงแล้ว ทาง สพม. ต้องทำการชี้แจงให้ลูกจ้างประจำรับทราบค่ะว่าจะให้ดำเนินการอย่างไร… คุณลองศึกษาคุณสมบัติของตำแหน่งพนักงานพัสดุก่อนนะค่ะว่าทำได้หรือไม่…ถ้าทำได้ ก็ให้ดูภาระงานที่คุณได้ปฏิบัติ ถ้าได้ให้ปรึกษาเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ + หัวหน้าส่วนราชการ และปรึกษาสำนักงาน ก.พ. ค่ะ ว่าได้หรือไม่…ถ้าได้ก็สามารถปรับเปลี่ยนได้ค่ะ…
ให้สอบถามไปที่กรมบัญชีกลางนะคะ ว่าทำได้หรือไม่ เพราะในสมัยก่อนจะต้องระบุว่าคนที่เป็นหัวหน้าจะต้องมีลูกน้องกี่คน แต่ไม่ทราบว่าปัจจุบันยังจะกำหนดการควบคุมลูกน้องอยู่หรือเปล่า…ถ้าดูในคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งใหม่นี้ ไม่มีระบุไว้ เพื่อความชัดเจนให้สอบถามไปที่กรมบัญชีกลางนะคะ… การโอนย้าย ขึ้นอยู่กับส่วนราชการค่ะว่าจะให้โอนย้ายได้หรือไม่…เพราะเห็นบางส่วนราชการก็ให้โอนย้ายได้ บางส่วนราชการก็ไม่ให้โอนย้ายค่ะ เหตุอาจมาจากการเสียอัตรากำลังไงค่ะ…ให้คุณปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการดูนะค่ะ…เพราะทางกรมบัญชีกลางจะมีหน้าที่เกี่ยวกับเรื่องค่าจ้างค่ะ… เมื่อประกาศผลสอบได้ ก็เรียกบรรจุตามกระบวนการในการสอบคัดเลือกค่ะ…และก็ออกคำสั่งการปรับเปลี่ยนตำแหน่งให้ค่ะ แต่ควรประสานงานกับ ก.พ. + กรมบัญชีกลางด้วยนะค่ะ…อาจเป็นการส่งคำสั่งให้ทราบค่ะ… ให้ดูที่คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งที่คุณต้องการเปลี่ยน ดูแล้วสามารถเปลี่ยนได้ค่ะ ถ้าทำงานการเงินมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี แต่คุณทำมาแล้ว 3 ปี ก็สามารถทำการเปลี่ยนได้ ให้ปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ + คำสั่งที่สั่งการให้คุณปฏิบัติหน้าที่การเงินด้วยนะค่ะ… สำหรับเรื่องอื่น ๆ ก็อยู่ที่ส่วนราชการคุณว่าต้องการหรือไม่ เช่น แฟ้มสะสมผลงาน ตั้งแต่เริ่มแรก – ปัจจุบัน + ข้อมูลการพัฒนาตนเองของคุณ (การอบรม + การประชุมต่าง ๆ + ความรู้ที่คุณได้รับการพัฒนามา) + รูปภาพกิจกรรมต่าง ๆ ที่คุณได้ปฏิบัติงานมา (ถ้ามี) ค่ะ…
สำหรับตำแหน่ง ขอให้บอกให้ชัดด้วยนะค่ะ ว่า ตำแหน่งใดแน่ ลองดูในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่ผู้เขียนเขียนไว้สิค่ะ…หรือให้ดูในหมายเลข 96 ก็ได้ ลองศึกษาดูนะค่ะ…ผู้เขียนได้เขียนไว้หลายบล็อกค่ะ… ลองดูนะค่ะ…ถ้าสงสัยค่อยถามมาใหม่ค่ะ…เพราะเกรงว่าจะไม่ใช่ลูกจ้างประจำตามระเบียบดังกล่าวข้างต้นค่ะ… สำหรับการอยู่ในกลุ่มที่ เช่น กลุ่มที่ ถ้าปัจจุบันค่าจ้าง อยู่ที่กลุ่มที่ 2 ยังไม่สามารถเลื่อนไปที่ กลุ่มที่ three ได้เลย ต้องรอให้ค่าจ้างเต็มขั้นในกลุ่มที่ 2 ก่อนค่ะ จึงจะเลื่อนไปยังกลุ่มที่ three ได้ การเลื่อนไปยังกลุ่มที่ three จะเลื่อนได้ครั้งเดียว ในกรณีที่เต็มเพดานกลุ่มที่ 2 แล้วค่ะ…
ไม่ทราบว่าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการหรือไม่ …เนื่องจากข้อมูลไม่ละเอียดพอ…ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการหรือไม่ ถ้าเป็นเทศบาล ต้องสอบถามที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนะค่ะ…เพราะไม่เกี่ยวกับลูกจ้างประจำของส่วนราชการนะค่ะ…ที่พี่เขียนนี้จะเกี่ยวกับระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการค่ะ… ผู้เขียนได้เขียนเรื่อง “การคิดเชิงบวก” ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อคิดในการดำเนินชีวิต + การทำงาน อาจมีประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตประจำวัน…ศึกษารายละเอียดได้ตามบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ…ขอบคุณค่ะ… “หมวดเจี๊ยบ” เผย ครม.อนุมัติปรับขึ้นอัตราเงินเดือน ลูกจ้าง-ภารโรง คณะกรรมการปฏิรูป ก.ม.ทั้งให้ สพฐ.รองรับ นศ.ทุนพระราชทานกลับภูมิลำเนา “ครูคืนถิ่น” นอกจากนี้ให้กีฬาแห่งชาติจัด 2 ปีต่อครั้ง… สำหรับที่สำรวจลูกจ้างประจำที่มีลักษณะงานเหมือนข้าราชการนั้น ผู้เขียนก็ไม่ทราบค่ะ ต้องสอบถามที่ ก.พ.
ให้คุณดูที่รหัส 2101 คือ ตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชี ระดับ 3 ตามไฟล์ด้านล่างนี้ค่ะ… สำหรับการปรับเปลี่ยนกลุ่ม น่าจะรอให้เงินเดือนในกลุ่มเดิมเต็มขั้นก่อน แล้วจึงจะทำการปรับเปลี่ยนให้ค่ะ… นักร้องหนุ่มไม่สำนึก พราวด์นั่งแท่นลูกรักทำผิดก็แค่ขอโทษ “มาดามกุ๊งกิ๊ง” มาแล้วย่ะทุกคน ตามมาแซ่บ มาเผือกกันเร็ว คิดว่าเดาไม่ยาก ทุกคนรู้เชื่อเดี๊ยน…
ตำแหน่งคุณ เดิมตำแหน่งใดกันแน่ค่ะ…ถ้าเป็นตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ รู้สึกว่าจะไม่มีในตำแหน่งที่จัดเข้าสู่กลุ่มนะค่ะ…ลองศึกษาในบล็อกที่พี่เขียนไว้ให้อีกครั้งนะค่ะ…เพราะเท่าที่คุณบอกตำแหน่งมานั้น พี่ดูให้หลายรอบไม่มีค่ะ…แต่ ทางสำนักงาน ก.พ. ได้แจ้งตามหนังสือ ว 35 ว่า ถ้าไม่มีให้ส่วนราชการแจ้งให้สำนักงาน ก.พ. จะดำเนินการเทียบตำแหน่งให้ค่ะ…คุณลองถามส่วนราชการที่เป็นคนทำเรื่องให้คุณสิค่ะ…แต่ที่สำนักงาน ก.พ.
ถ้าต้องการเปลี่ยนจากตำแหน่งช่างครุภัณฑ์ ระดับ three ไปเป็นตำแหน่งช่างไม้ ระดับ 3…นั้น ถ้าปัจจุบันเราทำงานด้านช่างไม้ด้วย ก็สามารถทำได้ค่ะ…อยู่ที่ว่าคำสั่งของเราทางต้นสังกัดให้เราทำเกี่ยวกับเรื่องช่างไม้ด้วยหรือไม่ ถ้ามีก็สามารถทำได้ค่ะ… ลองศึกษาในบล็อกที่ผู้เขียนได้เขียนไว้นะค่ะ…มีตั้งแต่เริ่มจะปรับเปลี่ยนตำแหน่ง จนถึงการปรับเปลี่ยนในปัจจุบัน เพื่อเป็นความรู้ต่อตัวท่านเองค่ะ… • สำหรับเรื่องสิทธิประโยชน์ ค่ารักษาพยาบาล ค่าเช่าบ้าน ฯลฯ อยู่ในระหว่างที่กระทรวงการคลังตรวจสอบข้อมูลค่ะ…
ถ้าแม่คุณเข้าข่ายในคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งในข้างต้น ก็สามารถปรับเพิ่มได้ แต่ถ้าปรับเป็นระดับ 2 แล้ว ฐานค่าจ้าง จะอยู่ในกลุ่มบัญชีค่าจ้าง 1-2 แต่แม่ยังต้องรับค่าจ้างในกลุ่ม 1 ก่อนจนเต็มเพดาน ถึงจะเปลี่ยนมาฐานค่าจ้างกลุ่มที่ 2 ได้ค่ะ… ในกรณีที่คุณแจ้งมานั้น อาจเป็นการเปลี่ยนเพียงระดับกระมังค่ะ เช่น ช่างไม้ 1 เป็นช่างไม้ 2 ช่างไม้ 3 ช่างไม้ 4 เหตุที่ได้ น่าจะลูกจ้างประจำท่านนั้น ไม่ได้เปลี่ยนตำแหน่งเช่นอย่างคุณ ส่วนราชการจึงทำให้ค่ะ… ตำแหน่งพนักงานขับรถยนต์ อยู่ในระหัส 2913 ค่ะ เราควรทำบัญชีคุมลูกจ้างประจำไว้ด้วยนะค่ะ…ว่าปัจจุบันเขาอยู่ตำแหน่งใด ระดับใด กลุ่มบัญชีค่าจ้างที่ 1 หรือ 1-2 หรือ 3 ค่ะ เพราะจะง่ายต่อการที่เราไม่ทำผิดพลาดในภายหลังค่ะ… ให้ดูว่า ลูกจ้างประจำ อยู่ในระดับชั้นใดนะค่ะ ถ้าระดับ 1 จะอยู่ในกลุ่มบัญชีค่าจ้าง 1 แต่ถ้าอยู่ระดับ 2 จะอยู่ในกลุ่มบัญชีค่าจ้าง 1-2 ซึ่งค่าจ้างเมื่อเต็มระดับ 1 ก็สามารถไหลไปที่ 2 ได้ค่ะ กรณีหลังไม่ต้องประเมินค่ะ ให้ดูที่บัญชีเงินเดือน + ระดับของลูกจ้างประจำเดิมด้วยนะค่ะ…
อีกอย่างการทำงานในปัจจุบัน ควรลดเรื่อง “อำนาจ” ได้แล้ว ควรทำงานที่เป็นไปตามภาควิชาการจริง ๆ คือ “การทำงานเป็นทีม”…การทำงานตามหน้าที่ ตามตำแหน่งที่ได้รับผิดชอบ ฯลฯ ข้อสำคัญ การทำงานภาคราชการ ต้องไม่เลือกปฏิบัติที่จะทำ ยิ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของคนในสังกัด ยิ่งต้องดูแลให้ทั่วถึง ไม่ควรเลือกปฏิบัติ เพราะเขาทำงาน เขาก็ต้องต้องการขวัญ กำลังใจ + ความสุขในการทำงานกันทุกคน อย่าลืมว่า!!! ปัจจุบันตำแหน่งนักการภารโรง ในส่วนราชการอื่น ๆ เขาก็ปรับเป็นตำแหน่งอื่นกันแล้ว เช่น เดิมตำแหน่งนักการภารโรง ถ้าทำงานธุรการของโรงเรียนได้ ส่วนราชการก็จะปรับให้เป็นพนักงานธุรการ หรือถ้าพิมพ์คอมฯ ได้ ก็จะปรับให้เป็นพนักงานพิมพ์ ฯลฯ กันค่ะ เพราะตำแหน่งดังกล่าวจะสามารถปรับเลื่อนระดับเป็นระดับ 1, 2 ,3 หรือ 4 กันได้ ซึ่งทำให้มีการเพิ่มขั้นค่าจ้างกันด้วยไงค่ะ… ตำแหน่งช่างเครื่องมือกล ระดับ 2 นั้น อยู่กลุ่มบัญชีที่ 1-2 ค่ะ สำหรับการเลื่อนขั้นค่าจ้างนั้นจะต้องเลื่อนให้เต็มขั้นกลุ่มบัญชีที่ 1 ก่อน จึงจะสามารถเลื่อนไปยังกลุ่มบัญชีที่ 2 ได้ค่ะ ลองศึกษาที่รหัส 3314 ด้านล่างนี้ดูนะคะ…
ดูผลของการทำงานของลูกน้องค่ะ…เลยมีความสบายใจ และเป็นเสียงให้กับบุคลากรใน ม. ว่า ให้เน้นการทำงานเป็นหลัก…คุณโชคไม่ดีจังที่หัวหน้าไม่มองถึงผลงาน…แต่ก็ขอเป็นกำลังใจให้นะค่ะว่า ในเมื่อเราทำดีมาตลอด ขอให้ทำความดีนั้นต่อค่ะ…สักวันคงเป็นผลที่เกิดจากการกระทำของเราบ้าง…ใครจะได้อย่างไรก็ช่างเขาเถอะค่ะ…ฟ้ามีตาค่ะ เชื่อในกฎแห่งกรรมบ้างหรือไม่? ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0428/ว forty six ลงวันที่ 6 พ.ค.2554 จะหมายถึงการปรับอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ซึ่งถ้าเป็นสมัยก่อนจะไม่ปัญหาสำหรับการแจ้งว่า คือ ลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ต่อมาเมื่อมี อบต. เกิดขึ้น ผู้เขียนยังสงสัยว่าลูกจ้างประจำของ อบต.
แล้วไปคลิกที่สารบัญด้านข่าวขวามือนะค่ะ… สำหรับจะปรับเข้าสู่ตำแหน่งพนักงานธุรการ ระดับ 3 ก็ขอให้คุณศึกษาหนังสือ ตามข้อ 1. และ /ว 14 คู่กันค่ะ…โดยต้องปฏิบัติหน้าที่ให้ได้ตามนี้ค่ะ… สำหรับพนักงานธุรการ คุณก็ต้องเคยได้ปฏิบัติงานสารบรรณมาพอสมควร เช่น สามารถร่างหนังสือโต้ตอบหนังสือราชการได้ การรับ – ส่ง หนังสือราชการ การเก็บรักษา การยืม การทำลายหนังสือในระดับหนึ่ง ให้ศึกษาคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของพนักงานธุรการด้วยนะคะ…
ให้ดูค่าจ้างในแต่ละระดับนะค่ะ…ค่าจ้าง รัฐเปิดเพดานให้แล้วค่ะ… ผู้เขียนได้ตรวจสอบใน Internet จากมหาวิทยาลัยแล้วนะค่ะ ก็สามารถ download File ได้นี่ค่ะ…อาจเป็นเพราะ internet ของคุณหรือเปล่าค่ะ…ลองดูอีกครั้งนะค่ะ… “เงินเดือน-ค่าตอบแทนพิเศษ”ผู้บริหาร-ขรก. ต้องสอบถามไปที่ สพท.สตูล นะค่ะ เพราะเป็นต้นสังกัดของคุณ จนท.จะเป็นผู้ตรวจสอบคุณสมบัติของคุณ และแจ้งให้คุณทราบค่ะ…
เมื่อค่าจ้างเต็มขั้นแล้วตอนนี้ เวลาเทียบก็เท่าเดิมก่อนค่ะ แล้วอยู่ที่ว่าเมื่อ 1 เม.ย.53 ได้กี่ % ถ้า 2 % ก็เลื่อนค่าจ้างใหม่ได้อีก 0.5 ขั้นค่ะ ถ้า four % ก็เลื่อนค่าจ้างใหม่ได้อีก 1 ขั้นค่ะ แต่ต้องรอหนังสืออนุมัติกรอบจาก ก.พ.และหนังสือแจ้งจากกรมบัญชีกลางสั่งการก่อนค่ะ… ไม่สามารถปรับเทียบให้เท่ากับเพดานใหม่ได้นะค่ะ เพราะที่รัฐทำให้ครั้งนี้ ได้ขยายเพดานค่าจ้างให้มากขึ้นค่ะ… ที่ให้สอบถามไปยังกรมบัญชีกลาง เพื่อให้ได้คำตอบที่ชัดเจนค่ะ เพราะกรมบัญชีกลางจะตรวจสอบในเรื่องของการปรับเปลี่ยนตำแหน่งค่ะ ไม่อยากให้ทำแล้วเสียเวลาต้องมานั่งแก้ไขคำสั่งว่าไม่ได้ไงค่ะ…ทางกรมบัญชีกลางคงมีเหตุผลนะคะ อย่าเพิ่งด่วนสรุปความโดยที่ยังไม่ได้ฟังเหตุผลด้วยค่ะ… ว่าได้หรือไม่ เพราะถ้าข้าราชการเงินเดือนขึ้น ลูกจ้างประจำของส่วนท้องถิ่น ก็น่าจะขึ้นนะค่ะ… หรือไม่ก็สอบถามหัวหน้าส่วนราชการที่คุณสังกัดดูนะค่ะ… จากที่เขียนบล็อกมา ทำให้ทราบว่า ส่วนราชการไทย ควรพัฒนาด้านความรู้ให้กับหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ อย่างแท้จริงในการให้ความสำคัญ สิทธิประโยชน์ของกลุ่มบุคลากรในองค์กรนั้น ๆ อย่างมากจริง ๆ ค่ะ…
ถ้าคุณสมบัติใหม่ไม่มีลูกน้องมาเกี่ยวข้องก็ไม่น่าจะต้องนำมาเป็นเกณฑ์นี่ค่ะ แต่ให้สอบถามเพื่อความถูกต้องอีกครั้งค่ะ… สำหรับผู้เขียนจะทำได้ก็อีกประมาณ eleven ปี ค่ะ เพราะถ้าเกษียณไปแล้ว ก็คงให้เด็ก ๆ รุ่นใหม่ มาทำแทนแล้วละค่ะ… ขอบคุณมากๆๆ เลยค่ะสำหรับคำตอบที่ช่วยคลายความสงสัยคะ…
ทั้งนี้ ให้ปรึกษากับเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ + หัวหน้าส่วนราชการด้วยค่ะ… สงกรานต์ว่าจะไปทำบุญให้แม่ที่วัดค่ะ…แล้วก็มาเก็บกวาดบ้านค่ะ… ยังเป็นขั้นอยู่ค่ะ…ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงจะนำมาแจ้งให้ทราบค่ะ…
เป็นกรม แล้วมีจำนวนลูกจ้างประจำ แค่ 35 คนเองค่ะ….จึงได้รับเรื่องแล้ว…ขอให้ลูกจ้างประจำทุกคนใจเย็นนิดนะค่ะ…คงได้รับกรอบอัตรากำลังเร็ว ๆ นี้แหล่ะค่ะ…และก็ขอแสดงความยินดีด้วยค่ะ… สำหรับลูกจ้างประจำนั้น การจ้างของรัฐก็ต้องดูในเรื่องการบรรจุในครั้งแรกค่ะว่า รัฐจ้างมาเป็นลูกจ้างประจำด้วยวุฒิการศึกษาใด ต่อมาเมื่อเรียนจบนั้น ก็ไม่ใช่หมายความว่า สามารถนำวุฒินั้นมาปรับให้ขั้นค่าจ้างสูงขึ้นได้เลย…อาจมีบางตำแหน่งที่ต้องใช้วุฒิที่สูงขึ้นได้ แต่บางตำแหน่งก็ไม่ใช่ต้องใช้วูมิสูงขึ้นนั้นหรอกค่ะ… ถ้าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการก็สามารถตอบได้ค่ะ…แต่คุณเป็น ของสังกัด อบจ.